หน้าแรก สอนเล่นหมากล้อม

สอนเล่นหมากล้อม

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 6

รูปแบบที่ 6 ขาวและดำได้แลกเปลี่ยนกันที่หมากสามเหลี่ยม จุดใดที่ดำยังสามารถบุกได้? รูปแบบที่ 6 ขาวและดำได้แลกเปลี่ยนกันที่หมากสามเหลี่ยม จุดใดที่ดำยังสามารถบุกได้?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง ดำเริ่มแอบมองที่ 1 และเดินจุดสำคัญที่ 3 เมื่อขาวกระโดดที่ 4 ดำ 5 จะกระโดดตามออกมา ดำสามารถโจมตีได้ทั้งสองด้าน   ดำบุกลึกเกินไป การบุกลึกที่ดำ 1 จะนำพาความหายนะมาสู่ดำ เมื่อขาวปิดที่ 2  

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 5

รูปแบบที่ 5 หากขาวต้านการบุกของดำ ด้วยการประชิดที่ 2 และตัดที่ 4 ดำจะรับมืออย่างไร? รูปแบบที่ 5 หากขาวต้านการบุกของดำ ด้วยการประชิดที่ 2 และตัดที่ 4 ดำจะรับมืออย่างไร?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง ดำแข็งแรงมากทางด้านขวา ดังนั้นดำจึงต้องอาตาริที่ 1 และเชื่อมที่ 3 จึงเป็นหมากที่ดีที่สุด ตำแหน่งของขาวทางด้านขวายังมีจุดอ่อน แต่ดำแข็งแรงทั้งสองด้านแล้ว   รูปเปรียบเทียบ ดำ 1 และ 3 เป็นหมากเด็ด...

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 4

รูปแบบที่ 4 ดำจะรับมืออย่างไร เมื่อขาวเข้าประชิดที่ 1? รูปแบบที่ 4 ดำจะรับมืออย่างไร เมื่อขาวเข้าประชิดที่ 1?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง ดำ 2 และ 4 เดินอย่างง่ายๆ ถ้าดำ 4 เปลี่ยนมาเดินที่ A แม้ว่าจะแข็งแรง แต่ก็จะทำให้หมากซับซ้อนมากขึ้น   รูปต่อเนื่อง หลังจากนั้น ขาวสามารถเริ่มเล่นโคะ โดยเดินที่ 1 และ 3 ได้

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 3

รูปแบบที่ 3 เมื่อขาวมีหมากสองเม็ดทางด้านขวาบนและได้ขยายสี่จุด ซึ่งดูเหมือนจะกว้างไปเล็กน้อย ดำจะบุกที่จุดไหน?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง ดำ 1 เป็นการเดินที่ได้มือนำ ถ้าขาวเชื่อมหมากโดยเดินดาม้าที่ 2 ดำจะกดให้ขาวอยู่บนเส้นที่ต่ำด้วยการเดินตามลำดับหมากจนถึงดำ 7   รูปเปรียบเทียบ ดำสามารถบุกที่ 1 ได้ แต่เมื่อขาวล้อมดำด้วยขาว 2 และ 4 แล้ว ขาวจะเป็นผู้นำในการต่อสู้

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 2

รูปแบบที่ 2 ขาวมีหมากที่ขยายห่างสี่จุดที่ด้านบน ดำควรบุกที่จุดไหน?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง ดำ 1 เป็นจุดสำคัญในการบุก สำหรับในกรณีนี้การบุกที่นี่ดีกว่าการเดินที่ A   รูปต่อเนื่อง ถ้าขาวกระโดดที่ 2 ดำจะกระโดดที่ 3 ตามหลังจากดำกระโดดที่ 5 แล้ว ดำสามารถเลือกโจมตีทางด้านซ้ายหรือขวาก็ได้

หมากล้อมระดับกลาง รูปแบบที่ 1

รูปแบบที่ 1 เมื่อดำเบียดจากด้านซ้ายที่ 1 จนถึงขาว 6 หมากต่อไป ดำควรเดินที่ใด?   เฉลย คำตอบที่ถูกต้อง เฉลย ดำ 1 เป็นหมากที่ถูกต้อง แม้ว่าขาวจะสามารถสร้างรอดได้ที่มุม ด้วยลำดับหมากจนถึงขาว 6 แต่หลังจากดำ 7 ขาวต้องกลับมาซ่อมแซมรูปร่างด้วยการเดินที่ A ขณะเดียวกันดำเดินที่ B จะเป็นมือนำ ดำพอใจกับผลลัพธ์เช่นนี้   รูปเปรียบเทียบ เฉลย ถ้าขาวต้องการโจมตีทางด้านซ้าย ขาวจะต่อลงที่ 4 จนถึงดำ 9...

ความรู้เบื้องต้นในการเล่นหมากล้อม

ความรู้เบื้องต้นในการเล่นหมากล้อม ในการเล่นหมากล้อม พื้นฐานที่ควรทราบ มีเพียงทราบข้อ เท่านั้น คือ 1. เล่นเพื่อล้อมพื้นที่ 2. การจับหมากกิน 3. การต่อรอง (โคะ)   1. เล่นเพื่อล้อมพื้นที่ เป้าหมายในการเล่นหมากล้อมคือ การสร้างพื้นที่ให้ได้มากกว่าฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่สร้างพื้นที่ได้มากกว่า จะเป็นฝ่ายชนะ นั่นคือฝ่ายใดที่สร้างพื้นที่ได้มากกว่าเพียง 1 คะแนน ก็เป็นฝ่ายชนะ การสร้างพื้นที่คือ การล้อมจุดตัดว่างๆ โดยเม็ดของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง จากรูป หมากดำล้อมพื้นที่จุดตัดของกระดานไว้ได้ 16 จุด หมากดำจะได้พื้นที่...

พื้นฐานหมากล้อม เจ็ดรูปร่างสำคัญ

พื้นฐานหมากล้อม เจ็ดรูปร่างสำคัญ คลิปนี้สำหรับมือใหม่  เรื่อง เจ็ดรูปร่างสำคัญ  กรณีถ้ากลุ่มหมากเราถูกอีกฝ่ายหนึ่งล้อมไม่สามารถออกไปได้ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างห้องเพื่อความอยู่รอดของกลุ่มหมากนั้น  ทุกคนก็ต้องรู้จักว่า 7 รูปร่างสำคัญ ที่จะรอด  หรือ ตายของกลุ่มหมากจะต้องมีลักษณะอย่างไร

ความรู้หมากล้อมค่ายกลป้อมโคบายาชิอัพเดต

เรียนหมากล้อมกับครูจิ้น ความรู้หมากล้อมค่ายกลป้อมโคบายาชิอัพเดต (เหมากสำหรับ 8 คิวขึ้นไป) หลายๆ คนคงสงสัยว่าเจ้าป้อมโคบายาชิมันคืออะไร ก็ติดตามชมคลิปกันดูครับ    

พื้นฐานหมากล้อม โคะ คืออะไร

พื้นฐานหมากล้อม โคะ คืออะไร "โคะ" คือกฏข้อหนึ่งของหมากล้อม คือห้ามกินกันไป กินกันมา หมายถึง ถ้าฝ่าหนึ่งกินหมากของอีกฝ่ายหนึ่งไปหนึ่งเม็ดอีกฝ่ายหนึ่งจะไม่สามารถกินคินได้ในทันทีจะต้องไปวาง ในจุดอื่นก่อน แล้วโคะจะกินได้ หรือ จะจบโคะเมื่อใดมาชมคลิปกันครับ คลิปนี้ครูอั๋นจะมาพูดถึงการจับกินเม็ดหมากล้อมบนกระดาน ว่าจะจับกินได้
- Advertisment -

Most Read

Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.