วันพฤหัสบดี, เมษายน 24, 2025

เนื้อหาล่าสุด

หมากล้อมในสมัยราชวงศ์หมิงและชิง

ในสมัยราชวงศ์หมิง กั้วไป่หลิง(过百龄,Guo Bailing) ยอดฝีมือหมากล้อมแห่งยุคหมิง ได้แต่งตำราหมากล้อมชื่อ “กวานจื่อผู่” (官子谱, Guanzi Pu) เป็นตำราหมากล้อมคลาสสิกอีกเล่มหนึ่ง เนื้อหาสำคัญเกี่ยวกับเทคนิคการปิดเกมและรวบรวมหมากเด็ดต่างๆ นอกจากนี้ยังได้แต่งตำราหมากล้อมอีกสองเล่มสำคัญ ได้แก่ ซานจื่อผู่(三子谱, Sanzi Pu) และซื่อจื่อผู่(四子谱, Sizi Pu) ในสมัยราชวงศ์หมิงและชิง ระดับฝีมือหมากล้อมได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว สิ่งหนึ่งที่เป็นตัวบ่งบอกคือการมีแบ่งสำนักหมากล้อมเกิดขึ้น  ในช่วงสมัยระหว่างจักรพรรดิเจิ้งเต๋อและจักรพรรดิเจียจิ้งในยุคราชวงศ์หมิง มีสำนักหมากล้อมที่มีชื่อเสียงสามสำนัก ได้แก่...

หมากล้อมในยุคสมัยราชวงศ์ถังซ่งและหยวน

ในสมัยราชวงศ์ถังและซ่ง หมากล้อมถือเป็นสมัยที่สองเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เนื่องจากบรรดาจักรพรรดิต่างชื่นชอบและเหตุผลอื่นๆ หมากล้อมได้พัฒนาไปอีกขั้นหนึ่ง ความนิยมเล่นหมากล้อมแผ่ขยายไปทั่วหล้า ในสมัยนี้ หมากล้อมไม่ได้มีประโยชน์แต่เพียงการสงคราม แต่คุณค่าสำคัญคือมีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิด ให้ความเพลิดเพลินและเพิ่มพูนสติปัญญา  ผู้คนถือว่าการเดินหมากล้อม เล่นดนตรี แต่งบทกวี และการวาดภาพเป็นของที่สูงส่ง กลายมาเป็นเกมการละเล่นของผู้คนทุกเพศทุกวัย ในสมัยราชวงศ์ถัง หวังจีซิน(王积薪,Wang Jixin)ถูกยกย่องให้เป็นนักหมากล้อมอันดับหนึ่งของแผ่นดินจีนคนแรก เขาได้บันทึกเคล็ดวิชาหมากล้อมขึ้นมาฉบับหนึ่งชื่อว่า “เคล็ดวิชาหมากล้อม 10 ประการ” (围棋十诀, Weiqi Shi Jue)...

หมากล้อมในยุคสมัยก่อนราชวงศ์ถัง

สมัยชุนชิวถึงสมัยสองฮั่น หมากล้อมค่อยๆแพร่หลาย สมัยสามก๊ก หมากล้อมมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว สมัยสองจิ้น หมากล้อมปราชญ์ปัญญาชน สมัยราชวงศ์เหนือและใต้ หมากล้อมเฟื่องฟูอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน สมัยสุยถัง หมากล้อมกับจินตกวี สมัยอู่ไต้ หมากล้อมในหมู่ผู้คนยากไร้ สมัยจิ๋นฮั่น – สมัยสามก๊ก เมื่อตอนราชวงศ์จิ๋นปราบหกก๊กรวมแผ่นดินเป็นหนึ่ง มีบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับหมากล้อมอยู่บ้าง ในบันทึก “ซีจิงจ๋าจี้” ในช่วงต้นสมัยฮั่นตะวันตกมีกลอนเกี่ยวหับหมากล้อมบันทึกไว้ว่าว่า “นายตู้หลิงตู้ชำนาญในการเดินหมาก เป็นที่หนึ่งในยุทธภพ” แต่ว่าบันทึกจำพวกนี้มีอยู่น้อยมาก แสดงให้เห็นว่าพัฒนาการของหมากล้อมในสมัยนั้นค่อนข้างเชื่องช้า  พอมาถึงต้นสมัยฮั่นตะวันออก สังคมให้ความสำคัญกับเรื่องอื่นๆ ส่วนเรื่องหมากล้อมนั้นแทบจะไม่มีเลย จวบจนเข้าถึงยุคกลางถึงปลายสมัยฮั่นตะวันออก หมากล้อมจึงค่อยๆกลัยมาเฟื่องฟูอีกครั้ง  เมื่อค.ศ....

ต้นกำเนิดหมากล้อม

หมากล้อมมีต้นกำเนิดจากประเทศจีน ชื่อภาษาจีนของหมากล้อม คือ เหวยฉี (围棋, Weiqi) คนจีนสมัยโบราณเรียกหมากล้อมว่า “อี้” (弈, Yi)  หมากล้อมถือเป็นหมากระดานที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มหมากกระดานสมัยโบราณทุกชนิด มีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปีแล้ว  จากในบันทึก “ซื่อเปิ่น” กล่าวว่า จักรพรรดิเหยา (尧, Yao Emperor, 2357-2255 BC) เป็นผู้คิดค้นหมากล้อมขึ้นมา...

มารยาทในการเล่นหมากล้อม (ญี่ปุ่น)

สวัสดีคะ วันนี้เปาก็อยากจะนำเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยในการเล่นหมากล้อมอย่างถูกต้องมาฝากผู้อ่านกัน เปาได้มีโอกาสได้ไปเล่นหมากล้อมที่ประเทศญี่ปุ่น ได้สัมผัสกับความมีระเบียบวินัยและมารยาทของคนญี่ปุ่น เพื่อนคนญี่ปุ่นของเปาถึงขนาดกล่าวว่า ฝีมือของนักเล่นหมากล้อมญี่ปุ่นไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นที่หนึ่งของโลก (ก็มีทั้งจีนและเกาหลีที่อยุ่ในระดับทัดเทียมกัน) แต่เราสามารถพูดได้เต็มปากว่ามารยาทในการเล่นของเราเป็นที่หนึ่ง วันนี้เรามาลองดูกันนะคะว่ามารยาทของเค้าจะแตกต่างจากที่เราทำกันอยู่ในทุกวันนี้มั้ย ถ้าเรารู้ว่าที่เราทำอยู่มันผิด เราก็มาช่วยเปลี่ยนแปลงกันเถอะคะ โดยพื้นฐานแล้ว ชาวญี่ปุ่นโดยทั่วไปในความเคารพบูชากับลัทธิบูชิโดหรือลัทธินักรบ (แนวทางการดำเนินชีวิตของพวกซามูไร) ที่ยึดถือความเรียบง่าย ความมีระเบียบวินัย ความสงบในจิตใจ และมารยาทต่อผู้อื่น ชาวญี่ปุ่นผู้รักการเล่นหมากล้อมก็เช่นกัน เปรียบการเล่นหมากล้อมเหมือนกับลัทธินักรบ จึงให้ความสำคัญกับอุปกรณ์ในการเล่น และมารยาทในการเล่นเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีคำกล่าวว่า ?จงเล่นหมากล้อมอย่างงดงามใสสะอาด จงคำนึงถึงมารยาทมากกว่าผลแพ้ชนะ?...

ดาวรุ่งพุ่งแรง

คุณแม่นักหมากล้อม : คือพลัง คือความหวัง คือกำลังใจ

คุณแม่นักหมากล้อม : คือพลัง คือความหวัง คือกำลังใจ เดือนแห่งวันแม่อย่างนี้ ทางเพจ TGA ของเราก็ไม่พลาดที่จะนำเสนอเรื่องราวของคุณแม่มาฝากกันเช่นเคย ในครั้งนี้เราได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณแม่ของนักหมากล้อมรุ่นเล็กแต่ฝีมือไม่เล็กถึง 3 คนด้วยกัน ได้แก่ แม่พร (พร ตัณพิสุทธิ คุณแม่ของน้องริว (วรท ตัณพิสุทธิ์) 3 ดั้ง และน้องยูริ (วีรินทร์ ตัณพิสุทธิ์) 2...

ก้าวแรกสู่ความสำเร็จ สุภาวดี บายศรี (น้องเมย์)

สวัสดีปีใหม่ 2559 วันนี้สมาคมกีฬาหมากล้อมฯ เปิดหมวดพิเศษ "ดาวรุ่งพุ่งแรง"เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเล่นหมากล้อม สำหรับการเปิดศักราชใหม่ ทางทีมงานขอนำเสนอ น้องสุภาวดี บายศรี (เมย์) ซึ่งเป็นนักเล่นหมากล้อมระดับฝีมือ 1 คิว ที่ได้รับโอกาสมากมายจากการเล่นหมากล้อม ในขณะนี้น้องเมย์ ได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ สาขาศิลปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น้องเมย์ ได้เริ่มเล่นหมากล้อมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โดยมีคุณครูรัตนาภรณ์ วงศ์ศรีอ่อน...

แนะนำสถาบันหมากล้อม

เนื้อหายอดนิยม

Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.