คุณค่า 3 ประการของหมากล้อม
ปราชญ์ "เม้งจื้อ"ได้กล่าวไว้ว่า
"ความรู้สึกอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นหลักของ หลี่
ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีเป็นหลักของ จื้อ
ความรู้สึกเห็นใจผู้อื่นเป็นหลักของ เหยิน "
คุณค่าเหล่านี้ "หมากล้อม"ได้สอนผู้เล่นแล้วอย่างไม่รู้ตัว
ในการเล่นหมากล้อมแต่ละกระดานนั้น ผู้เล่นจะได้รับประโยชน์และคุณค่า 3 ประการ คือ
1. หลี่
ขงจื๊อ เคยกล่าวเป็นปรัชญาไว้ว่า "คนจะมีหลี่ หรือ...
มารยาทในการเล่นหมากล้อม (ญี่ปุ่น)
สวัสดีคะ วันนี้เปาก็อยากจะนำเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยในการเล่นหมากล้อมอย่างถูกต้องมาฝากผู้อ่านกัน เปาได้มีโอกาสได้ไปเล่นหมากล้อมที่ประเทศญี่ปุ่น ได้สัมผัสกับความมีระเบียบวินัยและมารยาทของคนญี่ปุ่น เพื่อนคนญี่ปุ่นของเปาถึงขนาดกล่าวว่า ฝีมือของนักเล่นหมากล้อมญี่ปุ่นไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นที่หนึ่งของโลก (ก็มีทั้งจีนและเกาหลีที่อยุ่ในระดับทัดเทียมกัน) แต่เราสามารถพูดได้เต็มปากว่ามารยาทในการเล่นของเราเป็นที่หนึ่ง วันนี้เรามาลองดูกันนะคะว่ามารยาทของเค้าจะแตกต่างจากที่เราทำกันอยู่ในทุกวันนี้มั้ย ถ้าเรารู้ว่าที่เราทำอยู่มันผิด เราก็มาช่วยเปลี่ยนแปลงกันเถอะคะ
โดยพื้นฐานแล้ว ชาวญี่ปุ่นโดยทั่วไปในความเคารพบูชากับลัทธิบูชิโดหรือลัทธินักรบ (แนวทางการดำเนินชีวิตของพวกซามูไร) ที่ยึดถือความเรียบง่าย ความมีระเบียบวินัย ความสงบในจิตใจ และมารยาทต่อผู้อื่น ชาวญี่ปุ่นผู้รักการเล่นหมากล้อมก็เช่นกัน เปรียบการเล่นหมากล้อมเหมือนกับลัทธินักรบ จึงให้ความสำคัญกับอุปกรณ์ในการเล่น และมารยาทในการเล่นเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีคำกล่าวว่า ?จงเล่นหมากล้อมอย่างงดงามใสสะอาด จงคำนึงถึงมารยาทมากกว่าผลแพ้ชนะ?...
หมากล้อมในยุคสมัยก่อนราชวงศ์ถัง
สมัยชุนชิวถึงสมัยสองฮั่น หมากล้อมค่อยๆแพร่หลาย
สมัยสามก๊ก หมากล้อมมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
สมัยสองจิ้น หมากล้อมปราชญ์ปัญญาชน
สมัยราชวงศ์เหนือและใต้ หมากล้อมเฟื่องฟูอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน
สมัยสุยถัง หมากล้อมกับจินตกวี
สมัยอู่ไต้ หมากล้อมในหมู่ผู้คนยากไร้
สมัยจิ๋นฮั่น – สมัยสามก๊ก
เมื่อตอนราชวงศ์จิ๋นปราบหกก๊กรวมแผ่นดินเป็นหนึ่ง มีบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับหมากล้อมอยู่บ้าง ในบันทึก “ซีจิงจ๋าจี้” ในช่วงต้นสมัยฮั่นตะวันตกมีกลอนเกี่ยวหับหมากล้อมบันทึกไว้ว่าว่า “นายตู้หลิงตู้ชำนาญในการเดินหมาก เป็นที่หนึ่งในยุทธภพ” แต่ว่าบันทึกจำพวกนี้มีอยู่น้อยมาก แสดงให้เห็นว่าพัฒนาการของหมากล้อมในสมัยนั้นค่อนข้างเชื่องช้า พอมาถึงต้นสมัยฮั่นตะวันออก สังคมให้ความสำคัญกับเรื่องอื่นๆ ส่วนเรื่องหมากล้อมนั้นแทบจะไม่มีเลย จวบจนเข้าถึงยุคกลางถึงปลายสมัยฮั่นตะวันออก หมากล้อมจึงค่อยๆกลัยมาเฟื่องฟูอีกครั้ง เมื่อค.ศ....
หมากล้อมสามหัว ความนัวที่คุณไม่คาดคิด
เชื่อเหลือเกินว่าหลายๆ คนที่เริ่มเล่นหมากล้อม ก็มักจะลงแข่งประเภทเดี่ยว เล่นตัวคนเดียว คิดเอง เดินเอง อยากเล่นอะไรก็เล่น ไม่ต้องสนใจใคร รับผิดชอบหมากของตัวเองก็พอ
.
การแข่งขันหมากล้อมในความคิดหลายๆ คนจึงติดภาพจำว่าเป็นการแข่งเดียวเท่านั้น (ประเภททีม 3 คน นั่นก็ไม่นับเช่นกัน)
.
แต่ก็มีไม่น้อยเหมือนกันที่ชอบเล่นหมากล้อมร่วมกับคนอื่น อย่างแพร์โกะเป็นต้น การแข่งขันแพร์โกะคือการเล่นคู่กับคนอื่น (คู่ผสม หรือคู่ชาย คู่หญิง ก็ได้) ที่ทำให้การเดินหมากสนุกมากขึ้น เพราะไม่ใช่เดินหมากคนเดียว แต่ต้องเดินไปร่วมกับคู่ของเรา ต้องเดาใจให้ได้ว่าเขาต้องการอะไร...
คุณแม่นักหมากล้อม : คือพลัง คือความหวัง คือกำลังใจ
เดือนแห่งวันแม่อย่างนี้ ทางเพจ TGA ของเราก็ไม่พลาดที่จะนำเสนอเรื่องราวของคุณแม่มาฝากกันเช่นเคย ในครั้งนี้เราได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณแม่ของนักหมากล้อมรุ่นเล็กแต่ฝีมือไม่เล็กถึง 3 คนด้วยกัน ได้แก่ แม่พร (พร ตัณพิสุทธิ คุณแม่ของน้องริว (วรท ตัณพิสุทธิ์) 3 ดั้ง และน้องยูริ (วีรินทร์ ตัณพิสุทธิ์) 2 ดั้ง), แม่เล็ก (ทิพยา ภรณวลัย...
ข้อคิดดีๆ จากอาจารย์ ฟางเจี๋ย
ข้อคิดดีๆ จากอาจารย์ ฟางเจี๋ย
อาจารย์ ฟางเจี๋ย คือเจ้าของ ประโยคอมตะที่ว่า
“หนังสือทุกเล่มที่มีในสมาคม เอาไปเผาไฟทิ้งได้!!
เหลือไว้สองเล่มก็พอ คือ life& death กับ tesuji”
ย้อนกลับไปเมื่อ 20 ปีที่แล้ว
ความรู้ความเข้าใจวิธีการศึกษาหมากล้อมในประเทศไทย. ยังไม่เป็นระบบ และเป็นแนวทางที่ถูกต้องเช่นในทุกวันนี้
อาจารย์ ฟางเจี๋ย คือผู้เล่นระดับมืออาชีพคนแรก
ที่คุณก่อศักดิ์ ได้เชิญเข้ามาสอนหมากล้อมในประเทศไทย
ผมยังจำได้ว่าก่อนที่อาจารย์ฟางเจี๋ยจะมา
นักเล่นหมากล้อมในไทยหลายท่านรวมทั้งตัวผมเอง
ยังมีความเชื่อว่า .......
ใครจำโจเซกิได้มากกว่าคนนั้นเก่ง!!! ^___^
ในช่วงเวลานั้นความรู้ที่เป็นหลักให้ยึดถือและถูกต้องจริงๆ มีเพียง
“บัญญัติ 10 ประการในการเล่นหมากล้อมเท่านั้น”
แน่นอนว่าอาจารย์ฟาง...
ความท้าทายของการเล่นหมากล้อม Tripple Go
การเล่นหมากล้อมปกติจะเล่นกันสองคนโดยผู้เล่นจะคนหนึ่งจะเล่นหมากดำ อีกคนหนึ่งจะเล่นหมากขาว แต่ก็มีหมากล้อมอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่า "ทริปเปิ้ล โกะ" Tripple Go เป็นการเล่นหมากล้อมแบบฝั่งละ 3 คน
การแข่งขันหรือการเล่น Tripple Go นั้นเป็นการที่ผู้เล่นฝั่งล่ะ3คนรวม6คน เล่นหมากล้อมกระดานเดียวกันโดย พลัดกันเดินหมากคนล่ะเม็ด สลับกันไปโดยที่ห้ามบอกหรือปรึกษากัน วิธีการเล่นแบบนี้จะว่าไปเมืองไทยน่าเป็นที่แรกที่จัดการแข่งหรือเล่นแบบนี้ สิ่งที่ผมสังเกตได้จากการเล่นTripple goนี้นั่นความยากลำบากคือแต่ล่ะคนฝีมือเชิงหมากล้อมไม่เท่ากันเลย แล้วจะทำอย่างไรให้ทีมเดินหน้าและฝ่าฝันอุปสรรค์ไปได้ ความรู้ความสามารถ กลยุทธ์ต่างๆต้องถูกนำออกมาใช้ ให้ถูกที่ ถูกเวลา...
ความรู้หมากล้อม การตัดหมาก
ความรู้หมากล้อม การตัดหมาก
คลิปนี้เป็นคลิปสอนเรื่องการตัดหมาก การตัดหมากคือการวางเม็ดหมากเพื่อแยกกลุ่มหมากของอีกฝ่ายหนึ่งออกจากกันเพื่่อให้เกิดความอ่อนแอ ซึ่งจะเป็นโอกาสให้ฝ่ายเรามีทางที่จะกลับมาเป็นฝ่ายนำ
รูปแบบหมาก ที่ผู้เล่นมือใหม่ มักเจอกันบ่อยๆ
เรียนหมากล้อมกับครูจิ้น
เรื่อง รูปแบบหมาก ที่ผู้เล่นมือใหม่ มักเจอกันบ่อยๆ
คลิปนี้เป็นคลิปที่ครูจิ้นอธิบายถึงรูปแบบหมากที่ผู้เล่นมือใหม่ๆ มักจะเจอบ่อยๆ และส่วนใหญ่ก็จะเล่นกันไม่ค่อยถูก ครูจิ้นก็มาอธิบายให้ผู้ชมได้เข่้าใจถึงวิธีการเล่นที่เหมาะสม กับรูปแบบหมากในลักษณะต่างๆ ได้ให้ถูกต้องกัน
ต้นกำเนิดหมากล้อม
หมากล้อมมีต้นกำเนิดจากประเทศจีน ชื่อภาษาจีนของหมากล้อม คือ เหวยฉี (围棋, Weiqi) คนจีนสมัยโบราณเรียกหมากล้อมว่า “อี้” (弈, Yi) หมากล้อมถือเป็นหมากระดานที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มหมากกระดานสมัยโบราณทุกชนิด มีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปีแล้ว จากในบันทึก “ซื่อเปิ่น” กล่าวว่า จักรพรรดิเหยา (尧, Yao Emperor, 2357-2255 BC) เป็นผู้คิดค้นหมากล้อมขึ้นมา...